ตลาด
ข่าวสาร
การวิเคราะห์
ผู้ใช้
24x7
ปฏิทินเศรษฐกิจ
แหล่งเรียนรู้
ข้อมูล
- ชื่อ
- ค่าล่าสุด
- ครั้งก่อน
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค:--
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
ค:--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
--
ค: --
ค: --
ไม่มีข้อมูลที่ตรงกัน
ทัศนคติล่าสุด
ทัศนคติล่าสุด
หัวข้อยอดนิยม
เพื่อเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงของตลาดอย่างรวดเร็วและติดตามตลาดโฟกัสใน 15 นาที
ในโลกของมนุษยชาติ จะไม่มีคำกล่าวใด ๆ ที่ไม่มีจุดยืนใด ๆ หรือคำพูดใด ๆ ที่ไม่มีจุดประสงค์ใด ๆ
อัตราเงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยน และเศรษฐกิจเป็นตัวกำหนดการตัดสินใจเชิงนโยบายของธนาคารกลาง ทัศนคติและคำพูดของเจ้าหน้าที่ธนาคารกลางยังมีอิทธิพลต่อการกระทำของเทรดเดอร์ในตลาดอีกด้วย
เงินทำให้โลกหมุนไป และสกุลเงินเป็นสินค้าถาวร ตลาดฟอเร็กซ์เต็มไปด้วยความประหลาดใจและความคาดหวัง
คอลัมนิสต์ยอดนิยม
เพลิดเพลินกับกิจกรรมที่น่าตื่นเต้น ที่นี่ที่ FastBull
ข่าวด่วนล่าสุดและเหตุการณ์ทางการเงินทั่วโลก
ฉันมีประสบการณ์ 5 ปีในการวิเคราะห์ทางการเงิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการพัฒนามหภาคและการตัดสินแนวโน้มระยะกลางและระยะยาว ความสนใจของฉันอยู่ที่การพัฒนาของตะวันออกกลาง ตลาดเกิดใหม่ ถ่านหิน ข้าวสาลี และสินค้าเกษตรอื่นๆ
7 ปีของตลาดหุ้น การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โลหะมีค่า และประสบการณ์การซื้อขายและการวิเคราะห์อื่น ๆ โดยอาศัยปัจจัยพื้นฐาน การสนับสนุนทางเทคนิค มีอคติต่อตรรกะธุรกรรมจากบนลงล่าง โดยเน้นที่วัฏจักรมหภาคและการควบคุมความเสี่ยง การคาดการณ์เชิงทฤษฎีอุปสงค์และอุปทานอเนกประสงค์ การเปลี่ยนแปลงของราคา สร้างสมดุลระหว่างผลกระทบของธุรกรรม การกระจายชิปและอารมณ์ตลาด และคงที่
อัปเดตล่าสุด
สร้างทัศนคติการลงทุนที่ดี
วอร์เรน บัฟเฟตต์ได้รับเกียรติให้เป็นหนึ่งในนักลงทุนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ปรัชญาการลงทุนของเขาประกอบด้วยการสร้างกรอบความคิดระยะยาว ขจัดญาณรบกวนของตลาด ไม่เก็งกำไร และเน้นย้ำว่าการลงทุนต้องมีมีจิตใจที่มั่นคงและเป้าหมายที่ชัดเจน
คำเตือนเกี่ยวกับความเสี่ยงในการลงทุนในตลาดหุ้นฮ่องกง
แม้ว่าระบบกฎหมายและกรอบการกำกับดูแลในฮ่องกงจะค่อนข้างสมบูรณ์ แต่ตลาดหุ้นยังคงเผชิญกับความเสี่ยงและความท้าทายพิเศษหลายประการ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง HKD และ USD นักลงทุนต่างชาติอาจเผชิญกับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ความผันผวนของนโยบายและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของจีนแผ่นดินใหญ่อาจส่งผลกระทบต่อตลาดหุ้นฮ่องกงด้วย
โครงสร้างต้นทุนและภาษีเมื่อลงทุนในหุ้นฮ่องกง
ต้นทุนการซื้อขายในตลาดหุ้นฮ่องกง ได้แก่ ค่าธรรมเนียมการทำธุรกรรมหุ้น ค่าอากรแสตมป์ ค่าธรรมเนียมการชำระบัญชี ฯลฯ สำหรับนักลงทุนต่างชาติอาจมีค่าธรรมเนียมการแปลงสกุลเงินเพิ่มเติมเป็นดอลลาร์ฮ่องกงและภาษีอื่น ๆ ตามข้อบังคับท้องถิ่น
การวิเคราะห์อุตสาหกรรมฮ่องกง:อุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภคที่ไม่จำเป็น
อุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภคที่ไม่จำเป็นของฮ่องกง ได้แก่ รถยนต์ การศึกษา การท่องเที่ยว การจัดเลี้ยง เครื่องแต่งกาย และภาคส่วนอื่นๆ อีกมากมาย จากบริษัทจดทะเบียน 643 แห่งนั้น 35% เป็นบริษัทในจีนแผ่นดินใหญ่และคิดเป็น 65% ของมูลค่าตลาดทั้งหมด ดังนั้นอุตสาหกรรมนี้จึงได้รับอิทธิพลอย่างลึกซึ้งจากเศรษฐกิจจีน
ฮ่องกง,ประเทศจีน
นครโฮจิมินห์, เวียดนาม
ดูไบ, UAE
ลากอส, ไนจีเรีย
ไคโร, อียิปต์
ไวท์เลเบล
Data API
ปลั๊กอินเว็บไซต์
โครงการพันธมิตร
ดูผลการค้นหาทั้งหมด
ไม่มีข้อมูล
ไม่ได้ล็อกอิน
เข้าสู่ระบบเพื่อเข้าถึงฟังก์ชั่นเพิ่มเติม
สมาชิก FastBull
ยังไม่ได้เปิด
สมัคร
เข้าสู่ระบบ
ลงทะเบียน
ฮ่องกง,ประเทศจีน
นครโฮจิมินห์, เวียดนาม
ดูไบ, UAE
ลากอส, ไนจีเรีย
ไคโร, อียิปต์
ไวท์เลเบล
Data API
ปลั๊กอินเว็บไซต์
โครงการพันธมิตร
นายเจเรมี่ บูลตัน นักวิเคราะห์ของรอยเตอร์แสดงความเห็นของเขาเองว่า ดัชนีหุ้นทั่วโลกของ MSCI จะพุ่งทำสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ระดับ 832 ในไม่ช้านี้ หลังการปรับฐานครั้งใหญ่ที่ดัชนีร่วงลงสู่ระดับ 756 เมื่อวันที่ 5 ส.ค.
การคาดการณ์ว่าสหรัฐจะเริ่มวงจรการผ่อนคลายนโยบายนั้นจะเพิ่มปัจจัยกระตุ้นเชิงบวกด้วย และการทำ carry trade ที่มีการระบายออกมาอย่างมากในช่วงต้นเดือนนี้นั้น ก็กำลังฟื้นตัวขึ้นด้วย
สกุลเงินที่ใช้ในการทำ carry trade อาทิ เยน, ฟรังก์สวิส, บาท และดอลลาร์ไต้หวันอาจจะร่วงลง
สถานะซื้อปอนด์, ดอลลาร์นิวซีแลนด์, เปโซเม็กซิโก, ยูโร, แรนด์แอฟริกาใต้, ซวอตีโปแลนด์ และโฟรินต์ฮังการีอาจปรับตัวขึ้น--จบ--
Eikon source text
รูเปียห์นำสกุลเงินตลาดเกิดใหม่ในเอเชียแข็งค่าในวันนี้ ขณะที่นักลงทุนจับตาการประชุมประจำปีที่เมืองแจ็คสัน โฮลในสัปดาห์นี้ ซึ่งธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจจะส่งสัญญาณเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลดอัตราดอกเบี้ย
ดัชนีสกุลเงินตลาดเกิดใหม่ของ MSCI ปรับตัวขึ้น 0.2% มาที่ระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ใหม่ ขณะที่รูเปียห์แข็งค่าถึง 0.5% มาที่ 15,470 ต่อดอลลาร์ ซึ่งเป็นระดับสูงสุดตั้งแต่ต้นเดือนม.ค.
นายฟิลิป วี นักกลยุทธ์อาวุโสจากดีบีเอสกล่าวว่า "เรามองว่าการดีดตัวขึ้นของเงินเอเชียเป็นการฟื้นตัวจากการร่วงลงจากนโยบายคงดอกเบี้ยสูงนานขึ้นของเฟดในช่วงครึ่งปีแรก มีโอกาสที่วอน, เปโซ และรูเปียห์จะปรับตัวชดเชยการฟื้นตัวขึ้นจากที่ร่วงลงในปีนี้"
การลดดอกเบี้ยของเฟดอาจหนุนสินทรัพย์เสี่ยงในเอเชีย และทำให้ดอลลาร์อ่อนค่าลง ขณะที่อัตราเงินเฟ้อในประเทศส่วนใหญ่ในตลาดเกิดใหม่ของเอเชียกำลังลดลง
นักวิเคราะห์จากเอสแอนด์พี โกลบอล เรทติงส์ระบุว่า "ธนาคารกลางของตลาดเกิดใหม่ในเอเชียมีโอกาสที่จะลดดอกเบี้ย แต่พวกเขาจะไม่รีบเร่ง ขณะที่พวกเขาจะหลีกเลี่ยงกระแสเงินทุน และความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และอาจจะลดดอกเบี้ยก็ต่อเมื่ออัตราดอกเบี้ยนโยบายของเฟดเริ่มลดลงแล้วเท่านั้น"
นักลงทุนจะรอดูการประชุมของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.), ธนาคารกลางมาเลเซีย และธนาคารกลางเกาหลีใต้ในสัปดาห์นี้ ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่าทั้งสามประเทศจะคงอัตราดอกเบี้ย สวนทางกับธนาคารกลางฟิลิปปินส์ที่ตัดสินใจลดอัตราดอกเบี้ยในสัปดาห์ที่แล้ว นอกจากนี้ ข้อมูลเงินเฟ้อจากสิงคโปร์ และมาเลเซียในสัปดาห์นี้อาจจะกำหนดท่าทีให้แก่จุดยืนการลดดออกเบี้ยของธนาคารกลางของประเทศเหล่านี้ด้วย
อัตราแลกเปลี่ยน ณ เวลา 11.10 น.ตามเวลาไทย
COUNTRY | FX RIC | FX DAILY % | FX YTD % |
Japan | JPY= | -0.25 | -4.00 |
China | CNY=CFXS | -0.10 | -0.67 |
India | INR=IN | +0.01 | -0.78 |
Indonesia | IDR= | +0.34 | -0.63 |
Malaysia | MYR= | +0.18 | +5.03 |
Philippines | PHP= | +0.02 | -2.14 |
S.Korea | KRW=KFTC | +0.10 | -3.40 |
Singapore | SGD= | -0.09 | +0.77 |
Taiwan | TWD=TP | +0.37 | -3.69 |
Thailand | THB=TH | +0.26 | -0.34 |
Eikon source text
สิงคโปร์--20 ส.ค.--รอยเตอร์
ดัชนีดอลลาร์สหรัฐเมื่อเทียบกับตะกร้าสกุลเงินปรับลงแตะจุดต่ำสุดรอบ 7 เดือนในระหว่างการซื้อขายช่วงเช้าวันนี้ที่ตลาดเอเชีย ในขณะที่นักลงทุนคาดว่า ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะเริ่มต้นปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงในการประชุมวันที่ 17-18 ก.ย. และนักลงทุนรอฟังถ้อยแถลงของนายเจอโรม พาวเวลล์ ประธานเฟด ในงานประชุมเจ้าหน้าที่ธนาคารกลางประจำปีที่แจ็คสัน โฮลในรัฐไวโอมิงในวันศุกร์ที่ 23 ส.ค. โดยปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้นักลงทุนลังเลที่จะลงทุนครั้งใหญ่ก่อนได้ฟังถ้อยแถลงของนายพาวเวลล์ นอกจากนี้ นักลงทุนยังคาดการณ์อีกด้วยว่า นายพาวเวลล์จะยอมรับในวันศุกร์นี้ว่า เฟดมีเหตุผลที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง แต่นักลงทุนจะพยายามมองหาสัญญาณบ่งชี้ว่า เฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.25% หรือ 0.50% ในเดือนก.ย. ทั้งนี้ การอ่อนค่าของดอลลาร์ในช่วงนี้ส่งผลให้ดัชนีสกุลเงินตลาดเกิดใหม่พุ่งขึ้น 0.67% สู่ 1,760.87 ในช่วงท้ายวานนี้ หลังจากทะยานขึ้นแตะ 1,763.30 ในระหว่างช่วงการซื้อขายวันจันทร์ ซึ่งถือเป็นสถิติสูงสุดใหม่
ดอลลาร์/เยนขยับขึ้น 0.10% สู่ 146.72 เยนในช่วงเช้าวันนี้ หลังจากรูดลงแตะ 145.18 เยนในวันจันทร์ ซึ่งถือเป็นจุดต่ำสุดนับตั้งแต่วันที่ 7 ส.ค. หรือจุดต่ำสุดในรอบเกือบ 2 สัปดาห์ แต่ยังคงอยู่ห่างจากจุดต่ำสุดรอบ 7 เดือนที่ 141.675 เยนที่เคยทำไว้ในวันที่ 5 ส.ค. ส่วนยูโร/ดอลลาร์ขยับลง 0.04% สู่ 1.1081 ดอลลาร์สหรัฐในช่วงเช้าวันนี้ หลังจากพุ่งขึ้นแตะ 1.108775 ดอลลาร์ในระหว่างวัน ซึ่งถือเป็นจุดสูงสุดนับตั้งแต่วันที่ 28 ธ.ค. 2023 โดยยูโรทะยานขึ้นมาแล้ว 2.4% จากช่วงต้นเดือนนี้ และอาจจะปิดตลาดเดือนส.ค.ด้วยการพุ่งขึ้นรายเดือนครั้งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่เดือนพ.ย. 2023 ทางด้านดัชนีดอลลาร์สหรัฐเมื่อเทียบกับตะกร้าสกุลเงินขยับขึ้น 0.02% สู่ 101.89 ในช่วงเช้าวันนี้ หลังจากดิ่งลงแตะ 101.76 ในระหว่างวัน ซึ่งถือเป็นจุดต่ำสุดนับตั้งแต่วันที่ 2 ม.ค. โดยดัชนีดอลลาร์รูดลงมาแล้วกว่า 2% จากช่วงต้นเดือนนี้ และมีแนวโน้มที่จะปิดตลาดรายเดือนในแดนลบเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน ทั้งนี้ ปอนด์ขยับลง 0.05% สู่ 1.2982 ดอลลาร์สหรัฐในช่วงเช้าวันนี้ หลังจากพุ่งขึ้นแตะจุดสูงสุดรอบ 1 เดือนที่ 1.2998 ดอลลาร์เมื่อวานนี้ ส่วนดอลลาร์ออสเตรเลียร่วงลง 0.21% สู่ 0.6720 ดอลลาร์สหรัฐในช่วงเช้าวันนี้ ทางด้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ขยับลง 0.01% สู่ 0.6117 ดอลลาร์สหรัฐในช่วงเช้าวันนี้
นายโจเซฟ คาพูร์โซ หัวหน้าฝ่ายเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศของธนาคารคอมมอนเวลธ์ แบงก์ ออฟ ออสเตรเลียคาดว่า นายพาวเวลล์จะยังคงรักษาทางเลือกในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยอย่างล่าช้า และทางเลือกในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยครั้งใหญ่ เพราะว่าเฟดอาจจะรอดูตัวเลขการจ้างงานสหรัฐประจำเดือนส.ค. และตัวเลขอัตราเงินเฟ้อประจำเดือนส.ค. ก่อนที่จะตัดสินใจกำหนดนโยบายในการประชุมวันที่ 17-18 ก.ย. โดยนายคาพูร์โซกล่าวเสริมว่า "ในความเห็นของเรานั้น สถานการณ์ทางเศรษฐกิจในช่วงนี้สนับสนุนให้เฟดปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.25% แทนที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยครั้งใหญ่กว่าปกติ" และเขาระบุอีกด้วยว่า ดลอลาร์มีแนวโน้มที่จะอ่อนค่าลงต่อไปในสัปดาห์นี้ โดยได้รับแรงกดดันจากแนวโน้มในการปรับลดอัตราดอกเบี้ย
เทรดเดอร์คาดการณ์ในวันนี้ว่า มีโอกาส 24.5% ที่เฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.50% สู่ 4.75-5.00% ในการประชุมกำหนดนโยบายในวันที่ 17-18 ก.ย. โดยโอกาสดังกล่าวปรับลดลงจากระดับ 50% ที่เคยคาดไว้เมื่อหนึ่งสัปดาห์ก่อน และเทรดเดอร์ก็คาดการณ์ในวันนี้ว่า มีโอกาส 75.5% ที่เฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.25% สู่ 5.00-5.25% ในการประชุมกำหนดนโยบายในวันที่ 17-18 ก.ย. โดยเทรดเดอร์คาดการณ์อีกด้วยว่า เฟดอาจจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงรวมกันราว 0.93% ในปีนี้ ทั้งนี้ ผลสำรวจของรอยเตอร์คาดว่า ธนาคารกลางสหรัฐมีแนวโน้มที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงครั้งละ 0.25% ในการประชุมกำหนดนโยบายที่เหลืออยู่ 3 ครั้งในปีนี้ ซึ่งได้แก่การประชุมในวันที่ 17-18 ก.ย., วันที่ 6-7 พ.ย. และวันที่ 17-18 ธ.ค. ซึ่งจะส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยลดลงจากระดับ 5.25-5.50% ในปัจจุบัน สู่ระดับ 4.50-4.75% ในช่วงสิ้นปีนี้ โดยนักเศรษฐศาสตร์ที่คาดการณ์แบบนี้มีจำนวน 55 รายจากทั้งหมด 101 รายในโพลล์ หรือราว 54% ของโพลล์
นายเอเลียส แฮดแดด นักยุทธศาสตร์การลงทุนตลาดของบริษัทบราวน์ บราเธอร์ส แฮร์รีแมนกล่าวว่า "เศรษฐกิจมหภาคของสหรัฐมีภาวะแวดล้อมที่น่าพึงพอใจ ซึ่งได้แก่กิจกรรมด้านอุปสงค์ภายในประเทศที่แข็งแกร่ง และอัตราเงินเฟ้อที่ชะลอตัวลงปานกลาง โดยปัจจัยเหล่านี้บ่งชี้ว่า เฟดไม่มีแนวโน้มที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงในระดับที่มากเท่ากับที่ตลาดคาดการณ์กันไว้ในตอนนี้" และเขากล่าวเสริมว่า "ดังนั้นนักลงทุนจึงมีโอกาสที่จะปรับขึ้นตัวเลขคาดการณ์อัตราดอกเบี้ยของเฟด และปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลบวกต่อดอลลาร์สหรัฐและอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐ"--จบ--
Eikon source text
(รอยเตอร์ โดย จิตร โพธิ์แก้ว แปลและเรียบเรียง)
((jit.phokaew@thomsonreuters.com; โทร 08-7689-6043;
บาท/ดอลลาร์แข็งค่า 0.27% มาที่ 34.278 ขณะที่รูเปียห์, วอนแข็งค่ามากที่สุดในบรรดาสกุลเงินตลาดเกิดใหม่ในเอเชียในช่วงเช้าวันนี้
อัตราแลกเปลี่ยนเทียบดอลลาร์สหรัฐ ณ เวลา 9.10 น.
สกุลเงิน | อัตราล่าสุด | อัตราวันก่อน | % เปลี่ยนแปลง |
Japan yen | 146.620 | 146.57 | -0.03 |
Sing dlr | 1.308 | 1.3078 | -0.03 |
Taiwan dlr | 31.905 | 32.03 | +0.39 |
Korean won | 1328.300 | 1334.8 | +0.49 |
Baht | 34.278 | 34.37 | +0.27 |
Peso | 56.560 | 56.61 | +0.09 |
Rupiah | 15468.000 | 15545 | +0.50 |
Rupee | 83.870 | 83.87 | 0.00 |
Ringgit | 4.368 | 4.378 | +0.23 |
Yuan | 7.138 | 7.139 | +0.01 |
อัตราเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ต้นปี | |||
สกุลเงิน | อัตราล่าสุด | สิ้นปีที่แล้ว | % เปลี่ยนแปลง |
Japan yen | 146.620 | 141.060 | -3.79 |
Sing dlr | 1.308 | 1.319 | +0.83 |
Taiwan dlr | 31.905 | 30.735 | -3.67 |
Korean won | 1328.300 | 1288.000 | -3.03 |
Baht | 34.278 | 34.165 | -0.33 |
Peso | 56.560 | 55.388 | -2.07 |
Rupiah | 15468.000 | 15395.000 | -0.47 |
Rupee | 83.870 | 83.208 | -0.79 |
Ringgit | 4.368 | 4.590 | +5.08 |
Yuan | 7.138 | 7.098 | -0.56 |
Eikon source text
((saowanee.ekpunyachai@thomsonreuters.com; โทร 0-2080-2314; Reuters Messaging: saowanee.ekpunyachai.thomsonreuters.net))
กรุงเทพฯ--20 ส.ค.--รอยเตอร์
บาท/ดอลลาร์ เช้านี้ยังแข็งค่าต่อเนื่อง หลังดอลลาร์ยังคงเผชิญแรงกดดันฝั่งอ่อนค่า ท่ามกลางภาวะเปิดรับความเสี่ยงของตลาดการเงินสหรัฐ รวมถึงมุมมองของผู้เล่นในตลาดที่คาดหวังต่อแนวโน้มการลดดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ(เฟด) ราว 1.00% ในปีนี้
บาท/ดอลลาร์ ล่าสุด อยู่ที่ 34.24/26 จาก 34.46 เมื่อวาน โดยดีลเลอร์คาดว่า เงินบาทวันนี้จะมีแนวต้านที่ 34.30 และแนวรับที่ 34.45
นายพูน พานิชพิบูลย์ นักกลยุทธ์ตลาดเงิน ธ.กรุงไทย กล่าวว่า ผู้เล่นในตลาดรอดูปัจจัยใหม่เพิ่มเติม ทั้งรายงานข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญของสหรัฐ และถ้อยแถลงของบรรดาเจ้าหน้าที่เฟด โดยเฉพาะถ้อยแถลงของประธานเฟด ในงานสัมนาประจำปีของเฟดที่เมืองแจ็คสัน โฮล
แม้เงินบาทจะทยอยแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องมากกว่าที่ประเมินไว้ แต่เริ่มเห็นสัญญาณว่า การแข็งค่าขึ้นดังกล่าวของเงินบาทอาจชะลอลงบ้างในช่วงนี้ จนกว่าตลาดจะรับรู้ปัจจัยใหม่ๆ เพิ่มเติม โดยเฉพาะประเด็นแนวโน้มดอกเบี้ยเฟด ซึ่งจะขึ้นกับรายงานข้อมูลเศรษฐกิจ และถ้อยแถลงของประธานเฟดในสัปดาห์นี้
แต่เงินบาทก็อาจได้แรงหนุน จากแรงซื้อสินทรัพย์ไทยจากบรรดานักลงทุนต่างชาติ หลังความไม่แน่นอนของสถานการณ์การเมืองไทยทยอยคลี่คลายลง--จบ--
นิวยอร์ค--20 ส.ค.--รอยเตอร์
ดัชนีดอลลาร์สหรัฐเมื่อเทียบกับตะกร้าสกุลเงินร่วงลงแตะจุดต่ำสุดรอบ 7 เดือนในระหว่างช่วงการซื้อขายวันจันทร์ ในขณะที่เทรดเดอร์รอฟังถ้อยแถลงของนายเจอโรม พาวเวลล์ ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ในงานประชุมเจ้าหน้าที่ธนาคารกลางประจำปีที่แจ็คสัน โฮลในรัฐไวโอมิงในวันศุกร์ที่ 23 ส.ค. โดยนักลงทุนคาดว่า นายพาวเวลล์จะส่งสัญญาณในวันศุกร์นี้ว่า เฟดจะเริ่มต้นวัฏจักรการปรับลดอัตราดอกเบี้ยในการประชุมวันที่ 17-18 ก.ย. ทั้งนี้ นักลงทุนมุ่งความสนใจไปยังประเด็นที่ว่า นายพาวเวลล์จะส่งสัญญาณหรือไม่ว่า เฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.25% หรือ 0.50% ในการประชุมเดือนก.ย. โดยเทรดเดอร์คาดการณ์ในวันจันทร์ว่า มีโอกาส 23% ที่เฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.50% สู่ 4.75-5.00% ในการประชุมกำหนดนโยบายในวันที่ 17-18 ก.ย. โดยโอกาสดังกล่าวปรับลดลงจากระดับ 50% ที่เคยคาดไว้เมื่อหนึ่งสัปดาห์ก่อน และเทรดเดอร์ก็คาดการณ์ในวันจันทร์ว่า มีโอกาส 77% ที่เฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง 0.25% สู่ 5.00-5.25% ในการประชุมกำหนดนโยบายในวันที่ 17-18 ก.ย. โดยเทรดเดอร์คาดการณ์อีกด้วยว่า เฟดอาจจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงรวมกันราว 2.10% ตั้งแต่ช่วงนี้จนถึงสิ้นปี 2025
ดัชนีดอลลาร์เมื่อเทียบกับตะกร้าสกุลเงินอยู่ที่ 101.87 ในช่วงท้ายตลาดวันจันทร์ โดยร่วงลงจาก 102.40 ในช่วงท้ายตลาดวันศุกร์ หลังจากดิ่งลงแตะ 101.83 ในระหว่างวัน ซึ่งถือเป็นจุดต่ำสุดนับตั้งแต่วันที่ 2 ม.ค. หรือจุดต่ำสุดรอบ 7 เดือน
ดอลลาร์/เยนอยู่ที่ 146.57 เยนในช่วงท้ายตลาดวันจันทร์ โดยดิ่งลงจากระดับปิดตลาดวันศุกร์ที่ 147.58 เยน หลังจากรูดลงแตะ 145.18 เยนในระหว่างวัน ซึ่งถือเป็นจุดต่ำสุดนับตั้งแต่วันที่ 7 ส.ค. หรือจุดต่ำสุดในรอบกว่า 1 สัปดาห์
ยูโร/ดอลลาร์อยู่ที่ 1.1085 ดอลลาร์ในช่วงท้ายวันจันทร์ โดยแข็งค่าขึ้นจาก 1.1028 ดอลลาร์ในช่วงท้ายวันศุกร์ หลังจากพุ่งขึ้นแตะ 1.1086 ดอลลาร์ในระหว่างวัน ซึ่งถือเป็นจุดสูงสุดนับตั้งแต่วันที่ 28 ธ.ค. 2023
นักลงทุนมุ่งความสนใจไปยังประเด็นที่ว่า นายพาวเวลล์จะส่งสัญญาณในวันศุกร์นี้หรือไม่ว่า เฟดมีแนวโน้มที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงในการประชุมทุกครั้งหลังจากนี้ อย่างไรก็ดี มีความเป็นไปได้ที่นักลงทุนอาจคาดการณ์แนวโน้มในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของเฟดในระดับที่มากเกินไปในช่วงนี้ ทางด้านนายพาวเวลล์อาจลังเลที่จะให้สัญญาอย่างเฉพาะเจาะจงใด ๆ ในวันศุกร์นี้ เพราะว่าเฟดอาจจะรอดูตัวเลขการจ้างงานสหรัฐประจำเดือนส.ค. และตัวเลขอัตราเงินเฟ้อประจำเดือนส.ค. ก่อนที่จะตัดสินใจกำหนดนโยบายในการประชุมวันที่ 17-18 ก.ย.
หนังสือพิมพ์วอลล์สตรีท เจอร์นัลรายงานในวันจันทร์ว่า นายนีล แคชคารี ประธานเฟดสาขามินนิอาโปลิสกล่าวว่า เป็นเรื่องที่เหมาะสมที่จะหารือกันเรื่องความเป็นไปได้ในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยในเดือนก.ย. เพราะว่ามีความเป็นไปได้มากยิ่งขึ้นที่ตลาดแรงงานจะอ่อนแอลง ส่วนแมรี ดาลี ประธานเฟดสาขาซานฟรานซิสโกได้ให้สัมภาษณ์ต่อหนังสือพิมพ์ไฟแนนเชียล ไทมส์ฉบับวันอาทิตย์ โดยเธอกล่าวว่า ถึงเวลาที่จะมีการพิจารณาเรื่องการปรับอัตราดอกเบี้ยจากกรอบปัจจุบันที่ 5.25-5.50% ทางด้านนายออสตัน กูลส์บี ประธานเฟดสาขาชิคาโกกล่าวในวันอาทิตย์ว่า ภาวะสินเชื่อสหรัฐตึงตัวมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ และถึงแม้ยังไม่มีความแน่นอนว่าเฟดจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงในเดือนก.ย.หรือไม่ การที่เฟดไม่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงก็จะสร้างความเสียหายต่อตลาดการจ้างงาน
นักลงทุนรอดูปัจจัยหลายประการในสัปดาห์นี้ ซึ่งรวมถึงผลการทบทวนตัวเลขการจ้างงานของสหรัฐตั้งแต่เดือนเม.ย. 2023 จนถึงเดือนมี.ค. 2024 โดยผลการทบทวนดังกล่าวจะได้รับการประกาศออกมาในวันพุธนี้, รายงานการประชุมกำหนดนโยบายของเฟดประจำวันที่ 30-31 ก.ค. ซึ่งจะได้รับการประกาศออกมาในวันพุธนี้, ถ้อยแถลงของนายคาสุโอะ อุเอดะ ผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่น (บีโอเจ) เมื่อเขาให้การต่อรัฐสภาญี่ปุ่นในวันศุกร์นี้ และอัตราเงินเฟ้อของญี่ปุ่นที่จะได้รับการประกาศออกมาในวันศุกร์นี้ ซึ่งถ้าหากญี่ปุ่นรายงานว่า อัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้นในเดือนก.ค.เป็นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน ตัวเลขดังกล่าวก็อาจจะช่วยกระตุ้นให้บีโอเจพิจารณาเรื่องการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยต่อไป--จบ--
Eikon source text
(รอยเตอร์ โดย จิตร โพธิ์แก้ว แปลและเรียบเรียง)
((jit.phokaew@thomsonreuters.com; โทร 08-7689-6043;
นักวิเคราะห์จากเจ.พี.มอร์แกนกล่าวว่า กองทุนเฮดจ์ที่ติดตามเทรนด์ได้พลิกกลับมุมมองเชิงลบต่อหุ้นญี่ปุ่น และเริ่มเข้าซื้อหุ้นญี่ปุ่นในปลายสัปดาห์ที่แล้ว โดยกองทุนเฮดจ์ดังกล่าว หรือที่ปรึกษาการซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ หรือซีทีเอ ใช้อัลกอริทึมเพื่อทำกำไรจากแนวโน้มตลาด
ซีทีเออาจฟื้นฟูสถานะการลงทุนในสัญญาล่วงหน้าดัชนีนิกเกอิ 225 และดัชนี Topix โดยเริ่มเมื่อวันที่ 15 ส.ค. หลังจากการเทขายเมื่อไม่นานมานี้ ขณะที่การดีดตัวขึ้นของดัชนีใหญ่เกินไป
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเร็วกว่าที่เจ.พี.มอร์แกนคาดไว้ก่อนหน้านี้ โดยนักวิเคราะห์เคยคาดว่า ซีทีเอจะรอดูท่าทีว่า ดัชนีนิกเกอิจะฟื้นตัวสูงกว่าระดับ 35,000 ในช่วงสั้นๆ หลังจากที่ดิ่งลงในช่วงต้นเดือนส.ค.หรือไม่
นักวิเคราะห์ระบุว่า การใช้กลยุทธ์ซื้อขายตามระบบจำนวนมหาศาลของซีทีเอเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ตลาดหุ้นดิ่งลงทั่วโลก ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากธนาคารกลางญี่ปุ่น (บีโอเจ) ขึ้นอัตราดอกเบี้ยอย่างไม่คาดคิด โดยกลยุทธ์ซื้อขายตามระบบใช้กฎที่เคร่งครัด แทนที่จะใช้ความรู้สึกตามสัญชาตญาณของนักเก็งกำไร และบางครั้งก็รวมถึงการใช้โค้ด และอัลกอริทึมเพื่อนำทางการตัดสินใจซื้อขายและการลงทุน
ซีทีเอกำลังเข้าซื้อเพื่อทดสอบดูสถานการณ์ไปก่อน ซึ่งถ้าหุ้นญี่ปุ่นฟื้นตัวขึ้นต่อไป กองทุนเฮดจ์มหภาคอื่นๆ, ซีทีเอ และกองทุนที่ติดตามโมเมนตัมนี่ก็จะกลับเข้าตลาดด้วย--จบ--
Eikon source text
ไวท์เลเบล
Data API
ปลั๊กอินเว็บไซต์
เครื่องมือออกแบบโปสเตอร์
โครงการพันธมิตร
ความเสี่ยงของการสูญเสียในการซื้อขายสินทรัพย์ทางการเงิน เช่น หุ้น FX สินค้าโภคภัณฑ์ ฟิวเจอร์ส พันธบัตร ETFs หรือเงินดิจิทัลอาจมีมาก คุณอาจสูญเสียเงินทุนทั้งหมดที่คุณฝากไว้กับโบรกเกอร์ของคุณ ดังนั้น คุณควรพิจารณาอย่างรอบคอบว่าการซื้อขายดังกล่าวเหมาะสมกับคุณหรือไม่ในสถานการณ์และทรัพยากรทางการเงินของคุณ
ไม่ควรตัดสินใจลงทุนโดยไม่ได้ดำเนินการตรวจสอบสถานะอย่างละเอียดถี่ถ้วนด้วยตัวเองหรือปรึกษากับที่ปรึกษาทางการเงินของคุณ เนื้อหาเว็บของเราอาจไม่เหมาะกับคุณเนื่องจากเราไม่ทราบเงื่อนไขทางการเงินและความต้องการในการลงทุนของคุณ ข้อมูลทางการเงินของเราอาจมีความล่าช้าหรือมีความไม่ถูกต้อง ดังนั้นคุณควรรับผิดชอบอย่างเต็มที่ต่อการตัดสินใจซื้อขายและการลงทุนของคุณ บริษัทจะไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียเงินทุนของคุณ
หากไม่ได้รับอนุญาตจากเว็บไซต์ คุณจะไม่สามารถคัดลอกกราฟิก ข้อความ หรือเครื่องหมายการค้าของเว็บไซต์ได้ สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาในเนื้อหาหรือข้อมูลที่รวมอยู่ในเว็บไซต์นี้เป็นของผู้ให้บริการและผู้ค้าแลกเปลี่ยน